ไฟแนนซ์มอเตอร์ไซค์ แตกต่างจากสินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์อย่างไร

เมื่อถึงเวลาที่ต้องใช้เงิน ไม่ว่าจะเป็นการนำเงินไปหมุนเวียนในธุรกิจ จ่ายบิลค้างชำระ หรือใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ในแต่ละเดือนอาจจะมีรายจ่ายที่สูงกว่ารายรับจนทำให้หมุนเงินไม่ทัน แต่สำหรับคนที่มีมอเตอร์ไซค์ก็ไม่ต้องกังวลไป เพราะคุณสามารถนำมอเตอร์ไซค์ไปขอรีไฟแนนซ์ หรือขอ สินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์ เพื่อนำเงินมาหมุนเวียนชั่วคราวได้ มีหลายคนที่เข้าใจผิดว่า ไฟแนนซ์มอเตอร์ไซค์ ดอกเบี้ยถูก กับสินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์ คืออันเดียวกัน ทั้งที่จริง ๆ แล้ว มีความแตกต่างกันอย่างมาก

ไฟแนนซ์มอเตอร์ไซค์ ดอกเบี้ยถูก แตกต่างจากสินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์ อย่างไร
ไฟแนนซ์ คือ การขอสินเชื่อ หรือกู้เงินกับทางธนาคาร หรือสถาบันการเงิน โดยผู้ขอสินเชื่อจะได้รับเป็นตัวสินค้าต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น สินค้าสำหรับอุปโภค หรืออสังหาริมทรัพย์ โดยไฟแนนซ์มอเตอร์ไซค์ ดอกเบี้ยถูก ก็คือ การขอสินเชื่อเพื่อเช่าซื้อรถมอเตอร์ไซค์มาใช้งาน ในขณะที่การขอสินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์ จะเป็นการขอสินเชื่อกู้ยืมเงิน โดยนำรถมอเตอร์ไซค์ที่มีอยู่ไปเป็นหลักค้ำประกัน

สินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์ เป็นรูปแบบการขอสินเชื่อเพื่อซื้อรถใหม่ดังนั้นการประเมินเรื่องของการวางแผนค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันถือเป็นเรื่องที่สำคัญมากเนื่องจากจะต้องมีวินัยในการชำระค่างวดให้ตรงเพื่อไม่ให้เสียค่าปรับและมีความสม่ำเสมอ รวมไปถึงสินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์มีผลกระทบต่อรูปแบบของสินเชื่ออื่นๆในระบบของคุณด้วยเช่นกัน เมื่อคุณได้มีการหาประเภทของจัดไฟแนนซ์มอเตอร์ไซค์ที่จะเลือกทำประกันแล้วสิ่งที่จะต้องคำนึงถึงต่อมาจาก สินเชื่อรถมอเตอร์ไซค์ คือการทำประกันให้กับรถซึ่งเป็นรูปแบบของประกันเพิ่มเติมที่จะต้องคำนึงถึงได้แก่ ประกันคุ้มครองวงเงินสินเชื่อ และประกันอุบัติเหตุ ส่วนใหญ่ลูกค้าซื้อรถมอเตอร์ไซค์มักจะมองว่าเป็นส่วนเกินที่ไม่มีความจำเป็นแต่รู้หรือไม่ว่าสถิติความคุ้มครองที่เกิดขึ้นเหล่านี้มักจะให้ประโยชน์แก่ผู้ที่สมัครขอสินเชื่อมากกว่าการให้โทษเรียกได้ว่ากันไว้ย่อมดีกว่าแก้คุ้มมากกว่าที่จะต้องมาจ่ายเบี้ยประกันจำนวนมากในภายหลัง

ประเภทรถกระเช้า มีอะไรบ้าง?

รถกระเช้าที่มีใช้งาน ย่อมมีหลายประเภทแตกต่างกันออกไป เพื่อรองรับการทำงานในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างดี และเหมาะสมที่สุด รถกระเช้าที่มีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน สามารถแบ่งประเภทได้ตามจำนวนล้อ และสามารถแยกประเภทย่อยออกไปได้ตามประเภทของรถที่นำมาติดกระเช้านั้น ๆ ดังนี้

รถกระเช้าชนิด 4 ล้อ

รถกระเช้า ชนิด 4 ล้อ มีทั้ง 4 ล้อติดชุดเครน และ 4 ล้อดัมพ์ ติดชุดเครน การใช้งาน สามารถใช้งานได้หลายอย่าง ทั้งทำงานสวน ใช้เก็บผลไม้ และบรรทุกผลไม้ในรถคันเดียวกัน ใช้เป็นรถตัดแต่งกิ่งไม้ริมทาง รวมถึงใช้ซ่อมไฟแสงสว่างตามถนนตรอก ซอย สวนสาธารณะต่าง ๆ โดยส่วนมากแล้ว ชุดควบคุมการทำงานจะอยู่บนตัวกระเช้าทั้งหมด มีเกียร์เดินหน้า ถอยหลัง ยกน้ำหนักได้ประมาณ 150 กิโลกรัม บูมรับน้ำหนักแบบ 2 พับ อาจมีขาหยั่งกันล้มทั้ง 4 ด้าน

รถกระเช้าประเภท 6 ล้อ

รถกระเช้าประเภท 6 ล้อ สามารถใช้งานได้หลากหลาย และพบได้มากในการใช้งานด้านการเกษตร ตัวรถติดชุดไฮดรอลิคเครนมีรอก และสลิงที่ปลายเครน ใช้สำหรับหิ้วยกเคลื่อนย้ายของที่มีน้ำหนักมาก เหมาะสำหรับขนย้ายสิ่งของด้วยคนเพียงคนเดียว มีขาหยั่งกันล้ม 2 ข้าง น้ำหนักรถรวมน้ำหนักบรรทุกประมาณ 5,500 กิโลกรัม กระเช้ายกได้สูงจากพื้นดินประมาณ 8-10 เมตร ยกน้ำหนักได้ประมาณ 2,000 กิโลกรัม หรือ 2 ตันที่แขนหดสุด การใช้งานรถกระเช้าประเภท 6 ล้อแบบเครน หรือดัมพ์เครน ก็ควรคำนึงถึงการใช้งานว่ามีความสูงเพียงใด พื้นที่ของการทำงานที่จะใช้รถวิ่งผ่าน หรือจุดที่จะใช้รถกระเช้าปฏิบัติงาน รวมไปถึงความจำเป็นในการขนย้าย และน้ำหนักที่ใช้บรรทุกด้วย

รถกระเช้า 1 สูบ

รถกระเช้า 1 สูบ มีทั้งแบบ 3 ล้อ 4 ล้อ และ 6 ล้อ โดยแบบ 4 ล้อมีทั้ง 4 ล้อทั่วไป แบบ 4 ล้อติดชุดเครน และแบบ 4 ล้อดัมพ์ติดชุดเครน แบบ 4 ล้อทั่วไปจะยกน้ำหนักได้ประมาณ 120 กิโลกรัม แต่หากเป็นแบบ 4 ล้อติดชุดเครน หรือแบบ 4 ล้อดัมพ์ติดชุดเครน จะยกน้ำหนักได้ 2-3 ตัน เหมาะสำหรับขนย้ายสิ่งของด้วยคนเพียงคนเดียว ส่วนแบบ 6 ล้อ จะมีทั้งแบบรถกระเช้าเครน 6 ล้อ ติดชุดขุดดิน รถกระเช้า 6 ล้อ ติดชุดเครน และรถกระเช้า 6 ล้อดัมพ์ ติดชุดเครน เหมาะสำหรับยกหรือเคลื่อนย้ายของที่มีน้ำหนักมาก สามารถรับน้ำหนักได้ 2 ตัน กระเช้ายกได้สูงจากพื้นดิน 8 เมตร

รถกระเช้า 4 สูบ

รถกระเช้าแบบ 4 สูบ มีหลายแบบ เช่น รถกระเช้าเครน รถกระเช้าไฟฟ้าเครน รถกระเช้าเครนดัมพ์ รถกระเช้าไฟฟ้าเครนดัมพ์ รถบรรทุกติดตั้งกระเช้า เป็นต้น ส่วนใหญ่แล้ว จะมีความสูงไม่น้อยกว่า 10 เมตรขึ้นไป